"การติดต่อ Resume(ผู้สมัครงาน) " ข้อมูลจะเปิดเผยเฉพาะสมาชิก
สำหรับสมาชิก ต้องทำการ เข้าระบบ ก่อน
ผู้ที่ยังไม่เป็นสมาชิกสามารถ ลงทะเบียนได้ที่นี่
หรือสามารถติดต่อสอบถามเจ้าหน้าที่ 02-001-8800, 061-390-7800, 02-351-0087
ข้อมูลส่วนตัว

สำหรับสมาชิกเท่านั้น

หญิง (โสด)

ไทย

พุทธ

04-ตุลาคม-2542    อายุ 23ปี

161 Cm    หนัก 59 Kg

ข้อมูลการติดต่อ

สำหรับสมาชิกเท่านั้น

นราธิวาส (ตากใบ)

สำหรับสมาชิกเท่านั้น

สำหรับสมาชิกเท่านั้น

สำหรับสมาชิกเท่านั้น

โทรศัพท์ , Email
ข้อมูลทั่วไป

เทคโนโลยีชีวภาพ/Biotech

งานประจำ (Full Time)

นักวิทยาศาสตร์, QC,QA, R&D

16,000บาท ขึ้นไป

13 ส.ค. 2565

13 ส.ค. 2565
ตำแหน่งที่สนใจ
นักวิทยาศาสตร์, QC,QA, R&D
ประวัติการศึกษาสูงสุด
จบการศึกษาแล้ว ในปี พศ. ไม่ได้ระบุ
ปริญญาตรี สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบัง
ปริญญาตรี
เทคโนโลยีชีวภาพ
3.21
มัธยมศึกษาต้น-ปลาย โรงเรียนนราธิวาส
ระดับมัธยมศึกษาปีที่ 6
แผนการเรียนวิทย์-คณิต
3.39
ประวัติการทำงาน
0 ปี
มิถุนายน 2564  ถึง   พฤษภาคม 2565
นักศึกษา
ภาควิชาชีววิทยา คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล
ภาควิชาชีววิทยา คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล สิงหาคม คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล 272 ถนนพระรามที่ 6 แขวงทุ่งพญาไท เขตราชเทวี กรุงเทพฯ 10400
สำหรับสมาชิกเท่านั้น

ทำโปรเจคจบการศึกษาเรื่อง การผลิตโปรตีนจากเชื้อไวรัสอหิวาต์สุกรแอฟริกาเพื่อนำมาประยุกต์ใช้ในงานภูมิคุ้มกันวิทยา ซึ่งเป็นความร่วมมือกันระหว่างคณะวิทยาศาสตร์ สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบังและคณะวิทยาศาสตร์ และคณะสัตว์แพทย์ มหาวิทยาลัยหิดล โดยเทคนิคที่ได้ใช้ในการทำโปรเจคคือการเพาะเลี้ยงเซลล์แบคทีเรีย ทำโปรเจคจบการศึกษาเรื่อง การผลิตโปรตีนจากเชื้อไวรัสอหิวาต์สุกรแอฟริกาเพื่อนำมาประยุกต์ใช้ในงานภูมิคุ้มกันวิทยา ซึ่งเป็นความร่วมมือกันระหว่างสถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบังและมหาวิทยาลัยหิดล โดยเทคนิคที่ได้ใช้ในการทำโปรเจคคือการเพาะเลี้ยงเซลล์แบคทีเรีย ซึ่งก็คือ E. ทำโปรเจคจบการศึกษาเรื่อง การผลิตโปรตีนจากเชื้อไวรัสอหิวาต์สุกรแอฟริกาเพื่อนำมาประยุกต์ใช้ในงานภูมิคุ้มกันวิทยา ซึ่งเป็นความร่วมมือกันระหว่างสถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบังและมหาวิทยาลัยหิดล โดยเทคนิคที่ได้ใช้ในการทำโปรเจคคือการเพาะเลี้ยงเซลล์แบคทีเรีย ซึ่งก็คือ เซลล์ E. coli สายพันธุ์ BL21(DE3), Transformation, Protein expression,Western blot analysis, Buffer exchange, Purification และ ELISA เป็นต้น
ธันวาคม 2564  ถึง   มีนาคม 2565
นักศึกษา
ศูนย์วิจัยชีววิทยาเชิงระบบ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
ตึกแพทยพัฒน์ ชั้น 8 ห้อง 815 คณะแพทยศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย 1873 ถนนพระราม 4 แขวงวังใหม่ เขตปทุมวัน กรุงเทพ 10330
สำหรับสมาชิกเท่านั้น

ศึกษาและทำการทดลองโดยใช้เครื่องมือในการทำให้เซลล์แตก(break cell) ชื่อว่า Cell disruptor CF ซึ่งเครื่องมือชนิดนี้จะใช้ความดันในการทำให้เซลล์แตก โดยการทดลองนี้เป็นขั้นตอนหนึ่งในโปรเจคเรื่อง การผลิตโปรตีนจากเชื้อไวรัสอหิวาต์สุกรแอฟริกาเพื่อนำมาประยุกต์ใช้ในงานภูมิคุ้มกันวิทยา
- ศึกษาและทำการทดลองในการทำให้โปรตีนบริสุทธิ์โดยใช้ เครื่องแยกสารชีวโมเลกุลโปรตีนให้บริสุทธิ์ (Fast protein liquid chromatography, FPLC) ซึ่งโปรตีนที่ใช้ในการทดลองนี้คือ rp32, rp54 ซึ่งเป็นโปรตีนสังเคราะห์จากไวรัส ASF
- ศึกษาการป้องกันโปรตีนจากการตกตะกอน ในขั้นตอน Buffer exchange และการเลือกใช้บัฟเฟอร์ในการเก็บโปรตีน p32 และ p54 หลังการทำให้บริสุทธิ์
มิถุนายน 2564  ถึง   กรกฎาคม 2564
นักศึกษาฝึกงาน
ภาควิชาชีววิทยา คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล
คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล 272 ถนนพระรามที่ 6 แขวงทุ่งพญาไท เขตราชเทวี กรุงเทพฯ 10400
สำหรับสมาชิกเท่านั้น

ฝึกทักษะในการใช้เครื่องมือในห้องปฏิบัติการ ตั้งแต่เครื่องมือพื้นฐาน การใช้เครื่องแก้ว การชั่งสาร ทำความรู้จักกับสารเคมีมีชนิดต่างๆ เครื่องมือและอุปกรณ์ที่ได้ศึกษาและใช่ในการทดลอง ได้แก่ Biological Safety Cabinet, Incubator, Autoclave, Centrifuge, Spectrophotometer, Ultrasonic Processor, Nanodrop Spectrophotometer และ Deep Freezer เป็นต้น
ฝึกทักษะในการทำการทดลองด้าน Molecular DNA
เรียนรู้และฝึกทักษะที่จำเป็นก่อนการทำโปรเจคเรื่อง การผลิตโปรตีนจากเชื้อไวรัสอหิวาต์สุกรแอฟริกาเพื่อนำมาประยุกต์ใช้ในงานภูมิคุ้มกันวิทยา เกี่ยวกับเรื่องโปรตีนของไวรัส การแสดงออกของโปรตีน การสกัดโปรตีน การทำโปรตีนให้บริสุทธิ์ ได้แก่ การเตรียมอาหารเลี้ยงเชื้อ การเตรียมบัฟเฟอร์ การใช้เครื่องมือและการเก็บรักษาเครื่องมือในห้องปฏิบัติการ
ประวัติการฝึกอบรม
ความสามารถ
ความสามารถทางภาษา

พูด (ดีมาก)   อ่าน (ดีมาก)   เขียน (ดีมาก)

พูด (พอใช้)   อ่าน (ดี)   เขียน (พอใช้)

ไทย คำ/นาที    อังกฤษ คำ/นาที



โครงการ / ผลงาน / เกียรติประวัติ / บุคคลอ้างอิง

โปรเจคจบการศึกษาเรื่อง การผลิตโปรตีนจากเชื้อไวรัสอหิวาต์สุกรแอฟริกาเพื่อนำมาประยุกต์ใช้ในงานภูมิคุ้มกันวิทยา ซึ่งเป็นความร่วมมือกันระหว่างคณะวิทยาศาสตร์ สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบังและคณะสัตว์แพทย์ มหาวิทยาลัยมหิดล ในการผลิตโปรตีน p54 และ p32 ซึ่งเป็นโปรตีนของไวรัส ASF โดยเทคนิคที่ได้ใช้ในการทำโปรเจคคือการเพาะเลี้ยงเซลล์แบคทีเรีย ซึ่งก็คือ E. coli สายพันธุ์ BL21(DE3), Transformation, Protein expression,Western blot analysis,Purification และ ELISA เป็นต้น ซึ่งเมื่อได้โปรตีนมาแล้วก็จะนำไปพัฒนาเป็นชุดตรวจและวัคซีนต่อไปในอนาคต

สำหรับสมาชิกเท่านั้น
"การติดต่อ Resume(ผู้สมัครงาน) " ข้อมูลจะเปิดเผยเฉพาะสมาชิก
สำหรับสมาชิก ต้องทำการ เข้าระบบ ก่อน
ผู้ที่ยังไม่เป็นสมาชิกสามารถ ลงทะเบียนได้ที่นี่
หรือสามารถติดต่อสอบถามเจ้าหน้าที่ 02-001-8800, 061-390-7800, 02-351-0087
หาพนักงาน นักวิทยาศาสตร์, QC,QA, R&D
JobTH.com
บริษัท เน็ต แอดเวอร์ไทซิ่ง จำกัด
เลขที่ประจำตัวผู้เสียภาษี 0-1055-48148-53-1

ติดตามเรา
        

ลงโฆษณาติดต่อได้ที่
โทร : 02-001-8800, 061-390-7800, 02-351-0087
แฟกซ์ : 02-001-8804 - 05

มีปัญหาการใช้งาน

วันเวลาทำการ
จันทร์-ศุกร์ : 8:00-17:00  เสาร์ 9:00-16:00

Copyright 2008-2024, All Rights Reserved.