ผลงานทางวิชาการ
นักวิจัยร่วมในโครงการวิจัย
1) โครงการวิจัย เรื่อง การวิจัยและพัฒนาโมเดลนวัตกรรมโรงเรียนดิจิทัลสู่ความเป็นพลเมืองดิจิทัล ได้รับทุนภายนอกจากสำนักงานเลขานุการกองทุนพัฒนาเทคโนโลยีเพื่อการศึกษา สำนักงานปลัดกระทรวงศึกษาธิการ ระยะเวลาโครงการ 29 กรกฎาคม 2564 – 28 กรกฎาคม 2565
2) โครงการวิจัยเรื่องการศึกษาบทบาทที่เป็นจริงของหน่วยงานรัฐและกลไกของรัฐในการบังคับใช้กฎหมายเกี่ยวกับมาตรการควบคุมจุดจำหน่ายเครื่องดื่มแอลกอฮอล์รอบมหาวิทยาลัย. ทุนวิจัยจากสำนักงานเลขานุการกองทุนพัฒนาเทคโนโลยีเพื่อการศึกษา ระยะเวลาโครงการ พ.ศ. 2563
บทความวิชาการ
1)ฐิติกร หมายมั่น, ชำนาญ ทองมาก, บัณฑิต รัตนไตร และกฤติมา เหมวิภาต. (2565). เจาะความเคลื่อนไหว
อุตสาหกรรม 4.0 และความอยู่รอดในยุคโควิด-19. วารสารวิชาการมหาวิทยาลัยอีสเทิร์นเอเชีย ฉบับ
วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี, 16(1), 37-56.
2) จิตลดา หมายมั่น, อติกร เสรีพัฒนานนท์, บัณฑิต รัตนไตร และสมบัติ ทีฆทรัพย์. (2560). คาร์บอนฟุต
พริ้นท์ขององค์กร.วารสารวิชาการมหาวิทยาลัยอีสเทิร์นเอเชีย ฉบับวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี, 11(1), 57-66.
3)จิตลดา หมายมั่น, บัณฑิต รัตนไตร และสมบัติ ทีฆทรัพย์. (2559). ระบบอุตสาหกรรมสีเขียว.
วารสารวิชาการมหาวิทยาลัยอีสเทิร์นเอเชีย ฉบับวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี, 10(3), 15-25.
4)จิตลดา หมายมั่น และสมบัติ ทีฆทรัพย์. (2559). อุตสาหกรรม 4.0 : ตอนที่ 1 – ความตระหนักด้าน
สิ่งแวดล้อม. วารสารวิชาการมหาวิทยาลัยอีสเทิร์นเอเชีย ฉบับวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี, 10(1), 39-49.
5)จิตลดา หมายมั่น และสมบัติ ทีฆทรัพย์. (2559). Industry 4.0 อนาคตของอุตสาหกรรมไทย.
วารสารวิชาการมหาวิทยาลัยอีสเทิร์นเอเชีย ฉบับวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี, 10(1), 14-28.
บทความวิจัย
1)ฐิติกร หมายมั่น, เกสิณี ชิวปรีชา, รุจา รอดเข็ม, นริศว์ ปรารมภ์ และอุทัยวรรณ พงษ์บริบูรณ์. (2565). การ
พัฒนาภาวะผู้นำเชิงจริยธรรมของผู้บริหารโรงเรียน สังกัดกรุงเทพมหานคร. วารสารปรัชญาปริทรรศน์, 27(1) มกราคม-มิถุนายน 2565, 59-66.
2)กิจพิณิฐ อุสาโห, ปองสิน วิเศษศิริ, ฐิติกร หมายมั่น, มณฑา วิญญโสภิต และยุพวรรณ นังคลาภิวัฒน์.
(2564). การศึกษาบทบาทที่เป็นจริงของหน่วยงานรัฐและกลไกของรัฐในการบังคับใช้กฎหมาย เกี่ยวกับมาตรการควบคุมจุดจำหน่ายเครื่องดื่มแอลกอฮอล์รอบมหาวิทยาลัย. วารสารวิชาการ มหาวิทยาลัยอีสเทิร์นเอเชีย ฉบับสังคมศาสตร์และมนุษยศาสตร์, 11(1) (มกราคม – เมษายน 2564). 208-218.
3)ฐิติกร หมายมั่น, บัณฑิต รัตนไตร, ชำนาญ ทองมาก และสุรพันธ์ ใจมา. (2563). การลดปริมาณคาร์บอนฟุต
พริ้นท์องค์กรของมหาวิทยาลัยอีสเทิร์นเอเชีย. วารสารวิชาการมหาวิทยาลัยอีสเทิร์นเอเชีย ฉบับวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี, 14(2), 254-268.
4)ฐิติกร หมายมั่น, ชำนาญ ทองมาก และสมบัติ ทีฆทรัพย์. (2562). การจัดการความเสี่ยงด้านความ
ปลอดภัยในกระบวนการชุบฮาร์ดโครมลูกกลิ้ง. วารสารวิชาการมหาวิทยาลัยอีสเทิร์นเอเชีย ฉบับ
วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี, 13(2), 83-99.
5)ฐิติกร หมายมั่น, สมบัติ ทีฆทรัพย์, อติกร เสรีพัฒนานนท์ และบัณฑิต รัตนไตร. (2561). การประเมิน
คาร์บอนฟุตพริ้นท์องค์กรของมหาวิทยาลัยอีสเทิร์นเอเชีย. วารสารวิชาการมหาวิทยาลัยอีสเทิร์นเอเชีย ฉบับวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี, 12(2), 195-209.
งานเขียนของมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช 2 หน่วย
จิตลดา ซิ้มเจริญ. (2554). หน่วยที่ 3 การศึกษาวิธีการทำงาน. เอกสารการสอนชุดวิชา การวางผังโรงงานและการศึกษาการทำงานในอุตสาหกรรม 97423 หน่วยที่ 1-7 มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช.1-52.
จิตลดา ซิ้มเจริญ. (2553). หน่วยที่ 13 การขนถ่ายวัสดุในกระบวนการผลิต. เอกสารการสอนชุดวิชา เทคโนโลยีในการออกแบบผลิตภัณฑ์และกระบวนการผลิตในอุตสาหกรรม 97316 หน่วยที่ 7-15มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. 1-53.
สำหรับสมาชิกเท่านั้น