ตุลาคม 2539 ถึง กรกฎาคม 2563
QA/QC LINE ผลิต
บริษัท ซัมมิทโอโตบอดี้อินดัสตรี้จำกัด
32-33 หมู่17 ถนน.บางนา-ตราด (กม.11.5) ตำบล.บางพลีใหญ่ อำเภอ.บางพลี จังหวัด.สมุทรปราการ 10540 โทร (662)338-6000 โทรสาร (662)316-8798
สำหรับสมาชิกเท่านั้น
ควบคุมคุณภาพในขบวนการผลิตสุ่ม ตรวจCHECKชิ้นงานในLINEผลิต #เบื้องต้นตรวจCHECK สะภาพความพร้อมของพนักงานและอุปกรณ์เซฟตี้ความปลอดภัย/ความพร้อมของเครื่องจักรพนักงานมีการตรวจเช็คระบบน้ำ,ระบบไฟฟ้า,ระบบลม,เเละระบบแก๊ซ /ตรวจ CHECK สะภาพ JIG SUB ASS'Y พร้อมใช้งาน ตรวจเช็คเอกสารหน้า LINE PRD.มีการจดบันทึกจริงหรือไม่เช็คดูความเรียบร้อยแล้วQAจึงเซ็นเชื่อรับทราบ*ก่อนเริ่มการ
ผลิตPRD. # QAตรวจCHECK งานระหว่างการประกอบชิ้นส่วนถูกต้องตามรุ่น "MODEL" /และถูกต้องตามDWG.นั้นๆ เช็คสิงเกิ้ลPARTชนิดของชิ้นงานที่นำมาประกอบนั้นถูกต้องตามรุ่น
MODEL นั้นหรือไม่,การวางชิ้นงานลงตรงตามจุดตำแหน่งของDWG.กำหนดไว้อย่างถูกต้อง/เช็คการ SPOT WELDNG ตรวจเช็ครอยSPOTการหลอมละลายยึดติดชิ้นงานดีSPOTไม่หลุดจำนวนจุดSPOTครบจำนวนตรงตาม DWG.กำหนด *SPOTต้องไม่มีหนามแหลมคม,SPOTต้องกลมเต็มหน้าทั้งสองฟั่ง,จุดSPOTต้องมีความลึกตามSTD.ไว้อย่างถูกต้อง*รวมถึงเช็คการหลงลืมของพนักงาน*ประกอบชิ้นส่วนไม่ครบมีความถูกต้องครบจริงตามแบบ DWG. หรือไม่#เช็คความผิดปรกติของชิ้นส่วนอื่นๆดู "APPEARANCE"ทั่วไป PART BURRS ครีบคม,PART CRACK สะภาพใกล้แตก, PART NECK แตก , PART RUST สนิมชิ้นงาน ,PART DEFORM ชิ้นงานเสียรูป, ชิ้นงานเจาะรูมาครบหรือไม่ #เช็คตรวจสะภาพผิวชิ้นงานไม่มีหนามแหลมคม ชิ้นงานไม่มีรอยนูน/รอยบุบ/รอยเหว่าแว่ง/รอยขีดข่วน/รอยจิกลึก/รอยขีดลึก/รอยหย่น/ชิ้นงานต้องสะอาดเป็นต้น #แล้วหยิบชิ้นงานวางลงใน JIG CHECK (C/F) ทำการตรวจสอบ
โดยใช้เครื่องมือตรวจวัดที่เกี่ยวข้อง *ฟุตเหล็ก,*TAPERGATE / SCA ใช้เช็ค GAP. ชิ้นงานสูงหรือต่ำซึ้งดูจากจุดที่เสียบTAPERGATEแล้วอ่านค่า SCEL ณ จุดนั้น-เช็คTRIM/LINE ดูขอบชิ้นงานสั้น-ยาวเท่าไร , *VERNIER DIGITAL ใช้วัดรูชิ้นงาน/วัดความหนา & ความบางของเนื้อเหล็กชนิดงานนั้นๆ,เช็ครูปแบบZIS ขนาดรูชิ้นงาน เช่น รูวงกลม-รูสี่เหลี่ยม-รู SLOET วงรี -รูครึ่งวงกลม ,วัดขนาดรู ,วัดความลึกของรู ,วัดนอก/วัดในรู *LEVEL GAUGE เช็คขอบ/ผิวของชิ้นงานสูง&ต่ำรวมถึงการขึ้นรูปชิ้นงานและอ่านค่า SCEL , *ฟลินเลอร์เกจ เช็ค GAP ห่าง จุดDATUM ที่ TAPERGATE เสียบเข้าไม่ได้ เผื่ออ่านค่า GAP ,ฟลั้คเกจเช็คหมุนเกลียว NUT ZIS m5,m6,m8,m10 เช็คหมุนผ่านสะดวกไม่ติดขัด,ไม่มีเม็ดสะเป็กเตอร์ติดเกลียว,เช็คเกลียวเสียรูป,(เกลียวไหม้)แล้วนำชิ้นงานวางลงในJIG CHECK (C/F) ตรวจเช็คดู APPEARANCE ทั่วไป ดู การประกอบถูกต้องไม่ผิดรุ่น/การวางชิ้นงานถูกตำแหน่ง/ชิ้นงานมีความบกพร่องตรงจุดไหน/และจดบันทึกผลลงในแบบเฟรอม์ DATA REPORT /เขียนรายงานการตรวจเช็คประจำวัน/การตรวจเช็คเอกสารหน้าLINEผลิตและบันทึกผล การ TEST ชิ้นงานเช่น/การTESTจุดSPOT/การTESTความแข็งแรงของNUT M.5, M.6,M.8,M.10 /ติดต่อประสานงานหน่วยงานอื่นๆที่เกี่ยวข้องถ้าหากตรวจพบปัณหาในระหว่างขั้นตอนการผลิต หาสาเหตุสามารถวิเคราะห์ปัณหาและแก้ไขปัณหาหน้างานได้ทันถ่วงทีก่อนจะมีของเสียเผิ่มมากขึ้นกว่านี้#ทำการRE CHECK ชิ้นงานที่เสียหรือชิ้นงานต้องสงศัย100% *คัดแยกของดีของเสียออกจากกันให้ชัดเจน ติดป้ายชี้บ่งปัณหา(TAG แดง) ระบุรายละเอียดของปัณหาที่เกิดขึ้นให้ชัดเจน *คนอื่นสามารถอ่านรู้และเข้าใจได้ง่าย
#ในกรณีQA ตรวจพบปัณหาที่ความเสี่ยงสูงปัณหาขนาดใหญ่ต้องรีบแจ้งฝ่ายผลิต หยุด-เรียก-รอ ,ตามขั้นตอนของนโยบายบริษัทเผื่อทำการวิเคราะห์ปัณหา และหาแนวทางแก้ไขปัณหาและป้องกันปัณหาไม่ให้เกิดซ้ำซ้อน #QAมีส่วนรวมในกิจกรรม : QCC. ปรับปรุงแก้ไขในขบวนการทำงานรวมถึงการปรับปรุงคุณภาพชิ้นงานให้ดียิ่งขึ้นเป็นประจำของทุกปี , กิจกรรม :TPM. บำรุงรักษา ซ่อมแซมในส่วนที่ชำหรุดทำความสะอาด JIG CHECK ที่ตนเองรับผิดชอบ, รวมถึง ครบกำหนดวันที่จะต้องส่งJIG CHECK ไปสอบเทียบตามวาระที่กำหนดไว้ส่งห้องLAB ตรวจสอบความถูกต้องและสะภาพความพร้อมในการใช้งาน ,
# ก่อนเลิกงานต้องทำกิจกรรม 5ส. ทำความสะอาดเครื่องมือตรวจวัด เช็คความซึกหรอความผิดปรกติของเครื่อมือตรวจวัดเช็คความถูกต้องและเก็บรักษาเครื่องมือในที่ตำแหน่งจุดเก็บเครื่องมือในที่เดิมอย่างถูกต้องให้พร้อมใช้งานอยู่เสมอ ทำความสะอาดพื้นที่ของตนเองรับผิดชอบให้สะอาดเรียบร้อยอยู่เป็นประจำทุกวัน
พนักงานประจำ:QA/QC
บริษัท,ซัมมิทโอโตบอดี้อินดัสตรี้จำกัด - 32-33 หมู่17 ถนน.บางนา-ตราด(กม.11.5) ตำบล.บางพลีใหญ่ อำเภอ.บางพลี จังหวัด.สมุทรปราการ 10540
ตุลาคม 1996 ถึง กรกฎาคม 2020
QA/QC ในLINE ผลิต
มีหน้าที่ควบคุม/ตรวจสอบคุณภาพสิ้นค้าให้ได้คุณภาพตามที่ลูกค้าต้องการ สุ่มตรวจเป็นไปตามเวลาที่บริษัทกำหนด โดยการหยิบชิ้นงานลงบนJIG CHECK (C/F)
โดยใช้เครื่องมือวัดตรวจเช็คชิ้นงาน *เช่น แท็บเปอร์เกจวัดGAP PART, ฟุตรเหล็กวัดTRIM LINE,ดิ๊ฟเกจวัดความสูง/ต่ำของชิ้นงาน,เวอร์เนียร์ดิจิตรอนวัดขนาดความหนา/บาง วัดขนาดรู เล็ก/ใหญ่ วัดความลึกของรู วัดความยาวชิ้นงาน, ฟิลเลอร์เกจวัดGAP DATUM PART,ฟลั๊กเกจใช้เช็คเกลี้ยว NUT เป็นต้น นำค่าที่ตรวจวัดได้จดบรรทึกผลการวัดลงในแบบเฟอร์ม จำนวน3~5ชิ้น/1รายการเป็นประจำทุกวัน และทำการสุ้ม TEST ความแข็งแรงของจุด
SPOT ด้วยฆ้อนกับสะกัดสังเกตุดูรอยสี/ผิวการหลอมละลายของจุดSPOT ติด/ไม่ติด
หรือไม่ และจดบรรทึกผลค่าการวัดขนาดความโต/ความเล็ก/ความสูงของจุดSPOT ด้วยเวอร์เนียร , แล้วทำการ TEST NUT
M5,M6,M8,M10 ด้วยเครื่องมือTEST NUT ด้วยแรงดึง
เผื่ออ่านค่าด้วยเข็มชี้วัดค่าความแข็งแรงของการSUB WLOE NUT แล้วทำการจดบรรทึกผลลงในแบบฟอร์ม * ตรวจCHECK
เอกสารหน้าLINE ประจำเครื่องของฝ่ายPRD.ทำตามขั้นตอนครบถ่วนทุกประการก่อนและหลังการผลิตงานอย่างถูกต้อง ก่อนให้QA/QCเซ็นเชื่อรับทราบทุกครั้งที่มีการผลิตชิ้นงานนั้นๆ ประจำวัน ก่อนเริ่มและหลังเลิกงานจะต้องทำกิจกรรม 5ส.
รักษาความสะอาดในขอบเขตพื้นที่ของตนเองรับผิดชอบ/ร่วมถึงทำความสะอาดเครื่องมือตรวจวัดให้อยู่ในสะภาพพร้อมใช้งานอยู่เสมอ
- ในกรณีลูกค้าเข้ามา
ติดตามปัณหางานที่ผลิตไม่ได้คุณภาพหลุดหรอดไปสามารถชี้แจ้งปัณหาและมีขอมูล/เอกสารต่างๆต้องมีให้ลูกค้าดูตรวจสอบได้ทันที ไม่ให้ลูกค้ารอนานหรือไม่พอใจ
(ซึ้งเรื้องนี้เราเน็นมาก)ในส่วนของลูกค้าเข้ามาติดต่องานในLINE สายพาลการผลิต (ในส่วนงานและหน้าที่ตำแหน่ง"QA/QC" (LINE ผลิต)
QA/QC ฝ่ายประกันคุณภาพ
บริษัท,ซัมมิทโอโตบอดี้อินดัสตรี้จำกัด - 32-33 หมู่17 ถนน.บางนา-ตราด (กม.11.5) ตำบล.บางพลีใหญ่ อำเภอ.บางพลี จังหวัด.สมุทรปราการ 10540 To.02-338-6000
ตุลาคม 1996 ถึง กรกฎาคม 2020
1. ตรวจสอบตั้งแต่ขั้นตอนก่อนการผลิตการเตรียมความพร้อม~ชิ้นงาน/เครื่องจัก/เครื่องมือวัดต่างๆ
2. ตรวจเช็คเอกสารหน้าLINE การพลิตในส่วนของฝ่ายผลิตมีการประติบัติตามขั้นตอนก่อนเริ่มงานหรือเปล่าวละQA/QC จะเข้ามาตรวจเช็คก่อนแล้วเซ็นรับทราบ
3. สุ่มตรวจ CHECK PART/ด้วย JIG CHECK/และเครื่องมือในการวัดเช็คชิ้นงาน*เช่นTAPERGATE/SCA , LEVEL GAUGE , VERNIER DIGITAL , ฟิลเลอร์GATEวัดGAP DATUM ,ฟลั้กGATEวัดเกลียวBOLT NUT , เครื่องTEST NUT , TEST จุด SPOT เป็นต้น
4. นำผลการตรวจวัดที่ได้จดบรรทึกลงในเอกสารแบบเฟอมร์การตรวจเช็คประจำวัน/ใบรายงานต่อพู้บังคับบรรชาทราบทุกวัน#เอกสารDATA ตรวจเช็คประจำวันจะเก็บไว้เป็นหลักฐานการยืนยันและส่งมอบให้ลูกค้าเดือนละครั้ง ตรวจสอบย้อนหลังได้หากเกิดกรณีปัณหาหลุดไปถึงลูกค้าเราสามารถสืบข้นข้อมูล ชิ้นงาน LOT นั้นๆได้
5. กรนีตรวจพบปัณหาอันดับแรกต้อง"หยุด,เรียก,รอ"วิเคราะห์หาสาเหตุและแก้ไขทันที่/ถ้าเป็นปัณหาใหญ่ต้องติดต่อประสารงานหน่วยงานที่เกียวข้องเข้ามาดำเนินการปรับปรุงแก้ไข เช่น ติดต่อแผนกซ่อมบำรุง/แผนกJIG ASS,Y เข้ามาแก้ไข เป็นต้น
6. กรณีพบปัณหาชิ้นงานเสียหลุดลอดมาจากแผนกอื้นของบริษัทจะต้องแจ้งหัวหน้า LINEนั้น รับทราบปัณหาและหาแนวทางป้องกันและแก้ไขไม่ให้เกิดปัณหาซ้ำขึ้นมาอีกและต้องดำเนินการคัดแยกของดีของเสียออกจากกันและติดป้ายชี้บ่งให้ชัดเจน
7. หากปัณหาเกิดมาจากภายนอกบริษัทต้องติดต่อประสารงาน หน่วยงาน SQA .O/S MAKER รับทราบปัณหาแล้วจะต้องเข้ามาRE CHECK PART ในLINE ผลิตคัดแยกชิ้นงาน,วิเคราะหาสาเหตุ และป้องกันของเสียหลุดเข้ามาในLINEสายพานการผลิต * QA/QCต้องออกใบเตือน IPQ. PR แจ้ง O/S MAKER รับทราบปัณหาป้องกันแก้ไขต่อไป
8. QA/QC หากตรวจพบปัณหาของเสียระหว่างการผลิต:หรือลูกค้าแจ้งปัณหามา QA/QC จะต้องดำเนินการติดต่อประสานงานกับแผนก W/H หรือ STORE F/G PART เพื่อเข้าไปทำการRE CHECK PART ตรวจสอบ/คัดแยกของดี/ของเสีย และทำใบรายงานการตรวจเช็คปัณหาให้พู้บังคับบัญชารับทราบทุกครั้ง
9. ก่อนเลิกงานจะต้องทำกิจกรรม 5ส.ทุกครั้งทั้งก่อนเริ่มงาน/หลังเลิกงาน ทำความสะอาดพื้นที่ของตัวเองรับพิดชอบ/ตรวจเช็คเครื่องมือวัดทำความสะอาดทุกครั้งหลังเลิกงานเพื้อเตรียมพร้อมใช้งานได้ดีมีประสิทธิภาพก่อนใชังานในวันถัดไป